• Skip to primary navigation
  • Skip to main content
  • Skip to primary sidebar

ThaiHiv365

Never leave someone behind.

  • หน้าแรก
  • จองคิวตรวจเอชไอวี
  • เอชไอวีและเอดส์
    • การรักษาเอชไอวี
    • การป้องกันเอชไอวี
    • การตรวจเอชไอวี
    • เอดส์ คืออะไร
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
    • โรคหนองในเทียม
    • โรคหนองใน ภัยร้ายใกล้ตัว รู้ก่อนรักษาได้
    • โรคหูดข้าวสุก
    • โรคหูดหงอนไก่
    • โรคเริม
    • แผลริมอ่อน
    • โรคซิฟิลิส
  • เพร็พ PrEP/ เป็ป PEP
    • เพร็พ PrEP
    • เป๊ป PEP
  • บทความ
  • ถาม-ตอบ
  • เกี่ยวกับเรา
  • ติดต่อเรา

แผลริมอ่อน

Table of Contents

  • แผลริมอ่อนคืออะไร?
  • อาการของแผลริมอ่อน
  • การตรวจแผลริมอ่อน
  • การรักษาแผลริมอ่อน

แผลริมอ่อนคืออะไร?

แผลริมอ่อน หรือที่ชื่อภาษาอังกฤษว่า Chancroid เป็นโรคที่ไม่ค่อยพบในประเทศไทยเท่าไหร่นัก โดยจะมีลักษณะเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย และติดต่อได้ผ่านการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ใช้ถุงยางอนามัย

นอกจากในประเทศไทยแล้ว โรคแผลริมอ่อน ยังถือเป็นโรคที่พบได้น้อยมากในประเทศแถบยุโรป ออสเตรเลีย หรืออเมริกา และในบางที่ถึงกับไม่มีการตรวจพบเลยทั้งปี แต่โรคนี้สามารถพบได้ในประเทศที่ยังด้อยพัฒนา ทำให้ระบบสาธารณะสุขยังกระจายไม่ทั่วถึงนัก เช่น

  • ประเทศแอฟริกาใต้
  • ประเทศมาลาวี
  • ประเทศแทนซาเนีย
แผลริมอ่อน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อาการแผลริมอ่อน รักษาแผลริมอ่อน ตรวจแผลริมอ่อน ยารักษาแผลริมอ่อน เอชไอวี เอดส์ ตรวจเลือด

อาการของแผลริมอ่อน

แผลริมอ่อน จะมีลักษณะเป็นแผลสด ขึ้นบริเวณอวัยวะเพศ ที่เห็นได้ชัด และอาจมีเลือดไหลร่วมกับอาการเจ็บได้ แต่เนื่องจากมีลักษณะเป็นแผลสด ทำให้แพทย์ต้องทำการวินิจฉัยก่อนทำการรักษา ระยะของโรคจะใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์ถึงจะแสดงอาการ ด้วยความที่โรคนี้มีลักษณะเป็นแผลสด ทำให้คนเป็นโรคนี้เพิ่มความเสี่ยงต่อเอชไอวีไปด้วย แต่เนื่องจากสาเหตุที่โรคนี้พบได้น้อยมาก ทำให้เป็นโรคที่ไม่ต้องกังวลมากนัก

การตรวจแผลริมอ่อน

ปกติแล้วแผลริมอ่อน สามารถประเมินได้ด้วยสายตา หรือหากเพื่อจะยืนยัน แพทย์อาจมีการเก็บตัวอย่างจากบริเวณที่มีอาการเพื่อไปตรวจหาเชื้อก็ได้ เมื่อทราบผลแล้วแพทย์ก็จะดำเนินกระบวนการรักษาต่อไป

การรักษาแผลริมอ่อน

แผลริมอ่อนสามารถรักษาหายขาด ได้ด้วยยาปฏิชีวนะหรือตัดออกผ่านการทำศัลยกรรม แต่การทำศัลยกรรมอาจทำให้เปิดรอยแผลเป็นได้ ฉะนั้นจึงแนะนำการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะมากกว่า ส่วนมากคนที่เป็นโรคนี้จะได้รับการตรวจเอชไอวี หรือซิฟิลิสควบคู่ด้วยเลย เพื่อประกอบการรักษาให้ครอบคลุม

อ่านบทความที่เกี่ยวข้อง

  • ซิฟิลิส คืออะไร?
  • โรคหนองในแท้

Primary Sidebar

Recent Posts

  • แยกให้เป็น HIV กับ AIDS ไม่เหมือนกัน
  • เจ็บแสบระหว่างปัสสาวะ อาการบ่งบอกถึงโรค “หนองใน”
  • โรคฝีมะม่วง..ภัยร้ายใกล้ตัว
  • หนองในเทียม (Chlamydia)
  • CD4 ที่เท่าไหร่ถึงเรียกว่าระดับน่าเป็นห่วง

Archives

  • January 2023
  • December 2022
  • November 2022
  • October 2022
  • September 2022
  • August 2022
  • July 2022
  • June 2022
  • May 2022
  • April 2022
  • March 2022
  • February 2022
  • January 2022
  • November 2021
  • September 2021
  • April 2021
  • November 2020
  • September 2020
  • May 2020
  • April 2020

Categories

  • PEP
  • PrEP
  • Uncategorized
  • ตรวจเอชไอวี
  • ถุงยางอนามัย
  • ยาต้านไวรัส
  • หนองใน
  • หนองในเทียม
  • เอชไอวี HIV
  • โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • โรคฝีดาษลิง
  • โรคฝีมะม่วง

Copyright © 2023 · Genesis Sample on Genesis Framework · WordPress · Log in

Go to mobile version