แยกให้เป็น HIV กับ AIDS ไม่เหมือนกัน
ถ้าพูดถึง HIV กับ AIDS คนหลายคน ก็เกิดมีความกลัวอย่างเห็นได้ชัด…
เจ็บแสบระหว่างปัสสาวะ อาการบ่งบอกถึงโรค “หนองใน”
หนองใน คือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง สามารถพบได้บ่อยมากเป็นอันดับต้นๆ พบได้ประมาณ 40…
โรคฝีมะม่วง..ภัยร้ายใกล้ตัว
โรคฝีมะม่วง (Lymphogranuloma Venereum : LGV) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง…
หนองในเทียม (Chlamydia)
“หนองในเทียม” เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า คลามัยเดียทราโคมาติส (Chlamydia Trachomatis)…
CD4 ที่เท่าไหร่ถึงเรียกว่าระดับน่าเป็นห่วง
HIV เป็นเชื้อไวรัสที่จะทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรค และเชื้อไวรัสต่าง ๆ เมื่อเซลล์เม็ดเลือดขาว…
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(STI) ที่พบได้บ่อย
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีผลกระทบต่อทุกคนที่มีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อบางอย่างสามารถรักษาได้เพื่อให้คุณ และคู่นอนของคุณมีสุขภาพที่แข็งแรง และคุณเองสามารถป้องกันตัวเองจากการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ STI …
ตรวจหาเชื้อเอชไอวีไม่เจอ ควรตรวจซ้ำอีกรอบหรือไม่?
การตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวี ถ้าผลตรวจออกมาเป็นลบ หรือไม่เจอเชื้อ ก็เป็นการได้เริ่มต้นป้องกันตัวเองอย่างจริงจัง หรือถ้าตรวจเจอเชื้อ ก็ถือว่าเป็นการรู้ตัวก่อนที่จะป่วยขึ้นมา…
ทำความรู้จักกับยาต้านไวรัสเอชไอวี (ARV)
เอชไอวี คือ เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรคเอดส์ (AIDS) ซึ่งผู้ติดเชื้อเอชไอวีไม่จำเป็นต้องป่วยเป็นโรคเอดส์เสมอไป หากมีการติดเชื้อเอชไอวีแล้วนั้นเชื้อจะอยู่ในร่างกายผู้ติดเชื้อตลอดไป …
ควรตรวจ HIV เมื่อไร ?
ปัจจุบันยังมีความเข้าใจผิดอยู่มาก เกี่ยวกับการตรวจ HIV และการติดเชื้อ HIV หลายคนเข้าใจว่าหากดูแลร่างกายให้แข็งแรงแล้ว…
เป๊ป (PEP) ยาต้านไวรัส..ฉุกเฉิน
ยาเป๊ป (PEP) ยาต้านฉุกเฉิน ย่อมาจากคำว่า Post-Exposure Prophylaxis…
โรคหูดหงอนไก่ (Condyloma Acuminata)
หูดชนิดนี้เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นหลัก คือ ติดต่อได้จากผิวหนังสู่ผิวหนัง สามารถพบได้ในทุกเพศทุกวัย โดยมักพบในผู้ป่วยวัยหนุ่มสาว และวัยผู้ใหญ่ …
การรักษาตุ่ม PPE ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
โรคตุ่มคันในคนที่เป็นผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี จะมีอาการแสดงหลายระดับขึ้นอยู่กับระยะติดใหม่ๆ ถ้ามีการดูแลร่างกายดี ภูมิคุ้มกันยังดีอยู่ ก็จะไม่มีอาการอะไรเหมือนคนปกติทั่วไป ถ้าไม่มีการตรวจเลือดก็จะไม่ทราบว่าผู้นั้นมีเชื้อเอชไอวี…
เอชไอวี(HIV) ป้องกันง่ายกว่ารักษา
เอชไอวีเป็นเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้คหลายคนหวาดกลัวการติดเชื้อเอชไอวี เนื่องจากยังไม่มียารักษาให้หายขาดได้ และถึงแม้ว่าจะเป็นโรคที่น่ากลัว และไม่มีทางรักษา แต่มีวิธีการที่สามารถช่วยป้องกัน…
โรคเริม (Herpes) – โรคติดต่อที่พบบ่อย
เป็นโรคติดต่อทางผิวหนังชนิดหนึ่ง สามารถพบได้ในทุกเพศทุกวัย โดยมักพบผู้ป่วยวัยหนุ่มสาว และวัยผู้ใหญ่ ผู้ป่วยโรคเริมส่วนใหญ่มักจะไม่แสดงอาการของโรค หากเป็นแล้วสามารถกลับมาเป็นซ้ำได้อีก…
สิทธิประโยชน์การบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยโรคเอดส์
สิทธิประโยชน์ ผู้ป่วยโรคเอดส์และผู้ติดเชื้อเอชไอวี ของระบบประกันสุขภาพ 3 กองทุน มีดังนี้…
อ่านต่อ… สิทธิประโยชน์การบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยโรคเอดส์
ผื่นที่เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี
ผื่นที่ผิวหนัง เป็นอาการทั่วไปเมื่อเกิดการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ขึ้น อาการมักจะเป็นสัญญาณเริ่มแรก และมักจะเกิดขึ้นในช่วง 2…
โรคหูด สาเหตุ, อาการ, การรักษา
เป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยไม่จำกัดเพศ และอายุ แม้ว่าจะไม่ได้อันตรายมากนัก แต่ต้องได้รับการรักษาที่ถูกต้อง มิฉะนั้นอาจเป็นแผลติดเชื้อที่หนักกว่าเดิม รักษายากกว่าเดิมได้…
การมีเซ็กส์อย่างปลอดภัยเป็นไปได้หรือไม่
เรื่องเซ็กส์เป็นเรื่องใหญ่ และสำคัญของทุกคน การป้องกันก็เป็นเรื่องสำคัญเช่นเดียวกัน การมีเซ็กส์ยังไงให้ปลอดภัย เพื่อการป้องกัน และลดความเสี่ยงการติดต่อของโรคทางเพศสัมพันธ์…
เพร็พ PrEP ป้องกันเชื้อเอชไอวี
PrEP (Pre-Exposure Prophylaxis) เพร็พ เป็นยาต้านไวรัส สำหรับผู้ที่ยังไม่ติดเชื้อเอชไอวี…
ทำความรู้จักกับ โรคฝีดาษลิง
โรคฝีดาษลิง โรคนี้พบมากในแถบแอฟริกากลางและแอฟริกาตะวันตก พบผู้ป่วยในประเทศนอกเขตแอฟริกา เช่น สหรัฐอเมริกา อิสราเอล…
ระยะฟักตัวของเชื้อเอชไอวี (Window period)
หลักการตรวจ HIV คือ เมื่อร่างกายได้รับเชื้อ HIV ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้น…
กามโรคคืออะไร?
กลุ่มโรคที่เกิดจากการติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์กับคนที่เป็นโรคหรือคนที่ติดเชื้อ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก หรือทางทวารหนัก เดิมมีชื่อว่า กามโรค…
ผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสเอชไอวี
ยาต้านไวรัสเอชไอวี ถือเป็นหัวใจสำคัญของการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสเอชไอวี โดยแพทย์จะพิจารณาให้ผู้ป่วยเริ่มกินยาต้านไวรัสเอชไอวีโดยเร็วที่สุด เพื่อเป็นการรักษาตัวผู้ติดเชื้อไวรัสเอชไอวีเอง และเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสเอชไอวีไปสู่ผู้อื่น ยาต้านไวรัส…
โรคหนองในแท้ และหนองในเทียม ต่างกันยังไง
หนองใน เป็นอีกหนึ่งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน จึงสามารถรับเชื้อได้โดยง่ายแบบไม่ทันตั้งตัว และบ่อยครั้งผู้ป่วยมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโรคหนองในทั้ง หนองในแท้…
SEXUAL HEADACHE อาการปวดหัวระหว่างมีเพศสัมพันธ์
อาการปวดศีรษะสามารถเกิดขึ้นก่อน และระหว่างมีกิจกรรมทางเพศได้ หรือตอนที่ถึงจุดสุดยอด หรือหลังจากมีเซ็กส์ไปแล้วหลายชั่วโมงก็ยังปวดอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการช่วยตัวเอง หรือตอน…
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ที่มักพบในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยโรคเอดส์
การติดเชื้อโรคฉวยโอกาส หรือภาวะแทรกซ้อน ที่ไม่ค่อยเกิดขึ้นกับคนปกติทั่วไป แต่จะเกิดขึ้นเมื่อร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำลง หรือภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยโรคเอดส์…
อ่านต่อ… โรคติดเชื้อฉวยโอกาส ที่มักพบในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยโรคเอดส์
โรคซิฟิลิส รักษาหายได้ ถ้ารู้เท่าทัน
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ คือ กลุ่มโรคที่เกิดจากการติดต่อผ่านทางเพศกับคนที่เป็นโรค หรือคนที่ติดเชื้อ ทั้งจากการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก…
หนองใน
หนองใน เป็นหนึ่งในโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยเป็นอันดับต้นๆ ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทั้งหมด โดยปกติแล้วผู้ป่วยมักไม่แสดงอาการของโรคอย่างชัดเจน ควรรีบการรักษาก่อนที่จะแพร่สู่คู่นอน หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงมากยิ่งขึ้น…
การติดเชื้อฉวยโอกาส
โรคเอดส์ เป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อเอชไอวี ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายของผู้ป่วยนั้นถูกทำลายจนไม่สามารถต้านทานต่อโรค หรือการติดเชื้ออื่น ๆ เช่น…
STI และ STD อะไรคือความแตกต่าง
STD และ STI มักใช้แทนกันได้ เพราะหมายถึงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ความสำคัญอย่างหนึ่ง…
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับถุงยางอนามัย
ถุงยางอนามัยมีความสำคัญในการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการคุมกำเนิด ในปัจจุบัน มีถุงยางอนามัยให้เลือกใช้ ทั้งแบบสำหรับสตรีและแบบสำหรับบุรุษ ถุงยางอนามัยคือ?…
U=U คืออะไร
เมื่อเชื้อไวรัสเอชไอวีเข้าไปสู่ร่างกาย จะเข้าทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวซึ่งทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอม หรือเชื้อโรคต่าง ๆ ที่เข้ามาสู่ร่างกาย จึงทำให้ผู้ป่วยมีระบบภูมิคุ้มกันที่ต่ำลงจนในที่สุด…
เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับโรคเอดส์ และผู้ติดเชื้อ HIV
ถึงแม้ว่าโรคเอดส์ และเชื้อเอชไอวี ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยจะมีมานานมากแล้ว แต่คนส่วนใหญ่ก็ยังมีความรู้ความเข้าใจผิด ๆ เกี่ยวโรคเอดส์…
อ่านต่อ… เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับโรคเอดส์ และผู้ติดเชื้อ HIV
ยาต้านฉุกเฉิน (PEP) คืออะไร ?
ยาเป็ป (PEP) เป็นยาต้านฉุกเฉิน ในกรณีการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันและควรเก็บไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้น และการรับยา PEP…
ชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง สามารถทำได้จริงไหม?
ข้อสงสัยนี้มักเกิดขึ้นกับใครหลาย ๆ คน ที่ยังคงไม่มั่นใจในชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง เนื่องด้วยปัจจัยต่าง ๆ…
ไวรัสตับอักเสบบี..ภัยเงียบที่ควรระวัง
ไวรัสตับอักเสบบี เป็นสาเหตุของโรคตับที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากมีอัตราการติดเชื้อที่สูงประเทศหนึ่งของโลก ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีส่วนหนึ่งจะมีการอักเสบเรื้อรังของตับ มีโอกาสลุกลามเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับได้ ไวรัสตับอักเสบบีคือ…
PrEP เหมาะสำหรับใคร ?
ยา PrEP เป็นยาสำหรับป้องกัน HIV ล่วงหน้าก่อนการมีเพศสัมพันธ์…
ข้อดีของการตรวจ HIV ที่คนไทยส่วนใหญ่ไม่สนใจ
หลายคนอาจจะคิดว่า การตรวจคัดกรองหาเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นเรื่องไกลตัว หรือเป็นเรื่องของคนที่มีความเสี่ยงบ่อยเท่านั้น แถมหลายคนยังคิดว่าเป็นเรื่องที่สิ้นเปลืองเงินโดยใช่เหตุ เลยเก็บเงินส่วนนั้นไปทำอย่างอื่นจะดีกว่า…
เอชไอวีกับ CD4 (ซีดีโฟร์)
CD4 คือ เม็ดเลือดขาวหรือภูมิต้านทานในร่างกายของผู้ติดเชื้อเอชไอวีเพียงเท่านั้น แต่จริงๆ แล้ว ในคนที่ร่างกายปกติก็มีเม็ดเลือดขาวหรือ…
อาการแบบนี้ ใช่โรคหนองในเทียมหรือเปล่า?
ต้องยอมรับว่ากลุ่มวัยรุ่นในปัจจุบัน มีโอกาสพบเจอกันได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น จากแอพพลิเคชั่นออนไลน์ทั่วไป อันเป็นเหตุมาซึ่งความเสี่ยงที่จะติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ง่ายขึ้นเช่นกัน หนึ่งในกามโรคที่ตรวจพบได้บ่อยไม่น้อยไปกว่าไวรัสเอชไอวี เลยก็คือ…
เพร็พ PrEP ทางเลือกเพื่อป้องกันเอชไอวี
เมื่อตอนที่คนเรายังรู้จักกับเชื้อไวรัสเอชไอวีใหม่ ๆ คนที่ติดโรคนี้จะไม่มีวิธีใดเลยที่รักษาให้ดีขึ้นได้ จึงทำได้เพียงแต่รักษาไปตามอาการที่เกิดขึ้นเท่านั้น เนื่องจากเทคโนโลยีทางการแพทย์ยุคนั้น ยังไม่พัฒนามากพอ…
ความก้าวหน้าของการรักษาเอชไอวีในปัจจุบัน
โรคเอชไอวีและเอดส์ ถือเป็นโรคร้ายที่อยู่กับคนเรามาร่วมหนึ่งร้อยปีแล้ว นับตั้งแต่การค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2463 ที่สมัยนั้น…
ทำไมถึงควรตรวจเอชไอวีเป็นประจำ?
การตรวจเอชไอวีถือเป็นสิ่งที่ควรทำ แต่หากคุณอยู่ในความสัมพันธ์ที่ยั่งยืนก็ไม่จำเป็นต้องเข้าตรวจบ่อยมากนัก หรือตรวจแค่ปีละครั้งเพื่อความสบายใจก็ได้ เพราะคุณไม่ได้อยู่ในความเสี่ยงต่อเชื้อเอชไอวี แต่ถ้าคุณมีการเปลี่ยนคู่นอนหลายครั้งก็ควรเข้ารับการตรวจอย่างน้อยปีละ 2-3…